Page 33 - ประวัติสร้างเมืองกาฬสินธุ์ Kalasin History
P. 33

28  ประวัติศาสตร์การตั้งเมืองกาฬสินธุ์

                    12) อ าเภอนามน เดิมพื้นที่อ้าเภอนามนมีสภาพเป็นป่าดง มีเพียง
            หมู่บ้านขนาดเล็กซึ่งมีราษฎรอพยพจากท้องที่อ้าเภอใกล้เคียงมาจับจอง

            บุกเบิกเป็นที่ท้ามาหากิน ด้วยพื้นที่บริเวณนี้มีที่ดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่
            การท้าไร่ท้านา โดยการปลูกเพิงเถียงนาเพื่อเฝ้าพืชพันธุ์ที่ปลูกไว้ ครั้นมี
            ที่นามากขึ้นประกอบกับบริเวณที่นาที่บุกเบิกนั้นขยายออกไปในลักษณะ
            พื้นที่เป็นรูปวงกลม จึงเรียกชื่อบ้านนี้ว่า “บ้านนามน”

                    พ.ศ. 2521 นายผั้น สุวรรณเรือง สมาชิกสภาจังหวัดกาฬสินธุ์
            สมัยนั้น ได้เสนอญัตติต่อองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์และได้เสนอ
            ไปยังกระทรวงมหาดไทยโดยขอแยกพื้นที่ 3 ต้าบล คือ ต้าบลนามน ต้าบล

            ยอดแกง และต้าบลสงเปลือย ออกจากอ้าเภอเมืองกาฬสินธุ์ และขอจัดตั้ง
            เป็นกิ่งอ้าเภอ ต่อมากระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งเป็น “กิ่งอ้าเภอนา
            มน” เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2516 และต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็น
            “อ้าเภอนามน” เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 มาจนถึงปัจจุบัน
                    13) อ าเภอห้วยผึ้ง เดิมบริเวณที่ตั้งอ้าเภอห้วยผึ้งเป็นป่าดงดิบ

            อยู่ชายดงแม่เผด มีล้าห้วยเกดจากภูเขาสันนกน่อง ภูผีโห่ ภูสันชัย และ
            ภูแฝก อันเป็นสาขาเทือกเขาภูพาน มีน้้าไหลตลอดปี พื้นที่มีความอุดม
            สมบูรณ์ กล่าวกันว่ามีผึ้งท้ารังอยู่ตามต้นไม้ใหญ่มากมายท้าให้ชาวบ้าน

            แถบนี้มีอาชีพเก็บน้้าผึ้งไปขายเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป ต่อมามีราษฎรอพยพ
            เข้ามาอยู่อาศัยมากขึ้นและได้ช่วยกันสร้างท้านบกั้นล้าห้วยผึ้งขึ้น เมื่อ พ.ศ.
            2502 หมู่บ้านห้วยผึ้งจึงเกิดขึ้นโดยตั้งชื่อตามแหล่งน้้าในที่ตั้งของชุมชนนั้น
                    พ.ศ. 2505 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ หัวหน้าคณะปฏิวัติมาตรวจ

            ราชการที่ต้าบลนาคู อ้าเภอเขาวง ได้พิจารณาเห็นความส้าคัญว่า
            ประชาชนในท้องที่อ้าเภอเขาวงไม่มีเส้นทางไปสู่ตัวเมือง จึงได้มีบัญชาให้
            สร้างถนนจากบ้านนาคูไปสู่บ้านห้วยผึ้ง และประกาศจัดตั้งเป็น
            “นิคมสร้างตนเองกุฉินารายณ์” ท้าให้ชุมชนบ้านห้วยผึ้งมีความเจริญขึ้น

            อย่างรวดเร็ว
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38