Page 29 - ประวัติสร้างเมืองกาฬสินธุ์ Kalasin History
P. 29

24  ประวัติศาสตร์การตั้งเมืองกาฬสินธุ์

                    ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรงปรับปรุงรูปแบบการปกครอง
            เมื่อ พ.ศ. 2452 ให้เมืองกาฬสินธุ์และเมืองกมลาไสยขึ้นกับมณฑลร้อยเอ็ด

            ต่อมายุบมณฑลร้อยเอ็ดไปขึ้นกับมณฑลนครราชสีมา หลังจากนั้นกาฬสินธุ์
            ถูกยุบเป็นอ้าเภอหลุบขึ้นตรงต่อจังหวัดมหาสารคาม จนกระทั่งเมื่อ พ.ศ.
            2490 ได้ยกฐานะกาฬสินธุ์เป็นจังหวัด กมลาไสยและสหัสขันธ์จึงขึ้นเป็น
            อ้าเภอในของจังหวัดกาฬสินธุ์ และในปี พ.ศ. 2510 อ้าเภอสหัสขันธ์ได้ย้าย

            ที่ท้าการอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากมีการสร้างเขื่อนล้าปาวโดยย้ายจาก
            ต้าบลโนนศิลาไปอยู่ที่ต้าบลภูสิงห์ในปัจจุบัน
                    6) อ าเภอสมเด็จ เขตการปกครองพื้นที่เดิมขึ้นอยู่กับต้าบลหมูม่น

            อ้าเภอสหัสขันธ์ เมื่อปี พ.ศ. 2485 สมเด็จพระมหาวีวงศ์ (อ้วน ติสโส)
            เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส กรุงเทพมหานคร ประธานสังฆมนตรีฝ่ายธรรมยุต
            ได้จาริกมาตรวจเยี่ยมกิจการคณะสงฆ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
            และได้มาถึงอ้าเภอสหัสขันธ์เพื่อเดินทางต่อไปยังอ้าเภอกุฉินารายณ์
            ระหว่างทางได้หยุดพักฉันภัตตาหารเพลที่ริมหนองกุง (บ้านหนองกุง หมู่ที่

            8 ต้าบลสมเด็จ ในปัจจุบัน) ได้พิจารณาสภาพภูมิประเทศทราบว่า
            ทางรัฐบาลมีนโยบายที่จะสร้างทางหลวงแผ่นดินระหว่างจังหวัดกาฬสินธุ์
            ไปจังหวัดสกลนคร ซึ่งจะท้าให้เกิดทางสี่แพร่งในเขตใกล้หมู่บ้านหนองกุง

            ได้ให้ความเห็นว่า พื้นที่ทางสี่แพร่งนี้จะเจริญรุ่งเรืองในอนาคต จึงได้
            ประทานนามบ้านหนองกุงใหม่ว่า “บ้านหนองกุงสมเด็จ” ตามสมณศักดิ์
            ของท่าน
                    พ.ศ. 2490 - 2492 ได้มีการส้ารวจเส้นทางที่จะตัดถนนจาก

            จังหวัดกาฬสินธุ์ไปจังหวัดสกลนคร (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 213 )
            และมีโครงการปรับปรุงเส้นทางจากอ้าเภอสมเด็จไปอ้าเภอกุฉินารายณ์
            โดยเปลี่ยนแปลงบางช่วงที่ยังคดเคี้ยวให้เหมาะสมและสะดวกยิ่งขึ้น จึงท้า
            ให้เกิดเส้นทางสี่แพร่ง (สี่แยก) ขึ้นที่บ้านหนองแวง (หมู่ที่ 1 และ 9 ต้าบล

            หนองแวง ในปัจจุบัน) เรียกสี่แยกหนองแวง ท้าให้ราษฎรอพยพครอบครัว
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34